อะดรีนาลีน คือฮอร์โมนที่ต่อมหมวกไตหลั่งออกมาเพื่อตอบสนองปฏิกิริยาของร่างกายที่สั่งให้ต่อสู้หรือหนีเมื่อตกอยู่ในเหตุการณ์อันตราย ส่งผลให้หัวใจเต้นเร็ว บีบตัวแรง และหลอดลมในปอดขยายตัวขึ้น นอกจากนี้ แพทย์ยังนำอะดรีนาลีนสังเคราะห์หรือที่เรียกว่าเอพิเนฟริน (Epinephrine) มาใช้รักษาภาวะ Anaphylaxis ซึ่งเป็น...(อ่านเพิ่มเติม)
-
อะดรีนาลีน เรื่องควรรู้สำหรับผู้ป่วยอาการแพ้ Anaphylaxis
-
ยานัตถุ์ ใช้ไม่ระวังอาจเสี่ยงโทษ
ยานัตถุ์ เป็นยาแผนโบราณที่นิยมใช้มาอย่างยาวนาน เพราะเชื่อกันว่ามีประโยชน์ต่อสุขภาพและเป็นยาที่ใช้สูดเพื่อความเพลิดเพลินรูปแบบหนึ่ง ยานัตถุ์จัดเป็นยาสามัญประจำบ้านตามประกาศพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ของกระทรวงสาธารณสุข แต่ต้องเป็นสูตรที่ไม่มีส่วนผสมของยาเสพติดให้โทษ ยาอันตราย หรือยาควบคุมพิเศษเท่านั้น ...(อ่านเพิ่มเติม)
-
เชื้อดื้อยา ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม
เชื้อดื้อยา คือ ภาวะที่เชื้อแบคทีเรียต่อต้านยาปฏิชีวนะ ทำให้การรักษาผู้ป่วยติดเชื้อไม่ได้ผลดีดังเดิม อาจต้องใช้เวลารักษานานขึ้น เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาแพงขึ้น หรือผู้ป่วยอาจเสี่ยงเสียชีวิตมากขึ้น จากผลสำรวจขององค์การอนามัยโลก ปี 2556 พบว่ามีผู้ป่วยวัณโรคจากเชื้อดื้อยากว่า 100 ประเทศทั่วโลกเป็นจำนวน...(อ่านเพิ่มเติม)
-
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ จำเป็นแค่ไหน ?
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คือวิธีป้องกันไข้หวัดใหญ่ในช่วงที่มีการระบาดของโรค ซึ่งเกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี แต่วัคซีนไข้หวัดใหญ่นั้นจำเป็นหรือไม่ ใครบ้างที่ควรฉีด และควรฉีดบ่อยแค่ไหน ? วัคซีนไข้หวัดใหญ่ เป็นวัคซีนที่ฉีดเข้าร่างกายบริเวณต้นแขน เพื่อให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันโรคไข้หวัดใหญ่มากขึ้น โดยใช้เวลา 2 สัปดาห...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ยาสอด กับเรื่องที่ควรรู้
ยาสอด หรือยาเหน็บ คือยาที่ใช้สอดเข้าไปในทวารหนัก ช่องคลอด หรือท่อปัสสาวะ โดยเป็นรูปแบบการใช้ยาที่มีประสิทธิภาพสูง นิยมใช้ในกรณีที่ไม่อาจรักษาด้วยยารับประทานหรือการรักษารูปแบบอื่น ลักษณะของยาสอดหรือยาเหน็บโดยทั่วไปมีทั้งชนิดเม็ดและน้ำ แต่ส่วนใหญ่เป็นยาชนิดเม็ด ยาสอดดูดซึมเข้าสู่ร่างกายและออกฤทธิ์ได้เร...(อ่านเพิ่มเติม)
-
สเตียรอยด์ เป็นอย่างไร อันตรายหรือไม่
สเตียรอยด์ (Steroids) คือฮอร์โมนชนิดหนึ่งที่ร่างกายผลิตขึ้นเองได้ ซึ่งมีความสำคัญต่อการทำงานของร่างกาย ในปัจจุบัน วงการแพทย์ได้นำสเตียรอยด์มาใช้รักษาอาการเจ็บป่วย หรือแม้แต่ใช้ในวงการเสริมความงาม สเตียรอยด์แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ ดังนี้ คอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroids) ยาอะนาบอลิก-แอนโดร...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ปวดประจำเดือน ควรรับมืออย่างไร
ปวดประจำเดือน (Menstrual Pain/Dysmenorrhea) คือ อาการปวดท้องน้อยช่วงที่มีรอบเดือน ซึ่งมักเกิดขึ้นก่อนรอบเดือนมาเพียงเล็กน้อย หรือเกิดขึ้นระหว่างที่มีรอบเดือน โดยส่วนใหญ่ อาการดังกล่าวมักเกิดขึ้นเป็นเวลา 2-3 วัน ผู้ที่มีประจำเดือนมักรู้สึกปวดตุบ ๆ หรือปวดบีบ โดยอาการอาจรุนแรงหรือไม่รุนแรงแตกต่างกันไป ...(อ่านเพิ่มเติม)
-
อาการก่อนมีประจำเดือน เป็นอย่างไร รู้ทันเพื่อป้องกัน
อาการก่อนมีประจำเดือน (Premenstrual Syndrome) หรือที่เรียกว่า พีเอ็มเอส (PMS) คืออาการทางอารมณ์ ร่างกายและพฤติกรรม เช่น หงุดหงิด เครียด วิตกกังวล นอนไม่หลับ หรือเจ็บเต้านม พบว่าอาการต่าง ๆ ของอาการก่อนมีประจำเดือนนั้นเกิดกับสตรีวัยเจริญพันธ์ได้ถึง 85 เปอร์เซ็นต์ โดยระดับความรุนแรงของความเปลี่ยนแปลงที...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ยาเลื่อนประจำเดือน ใช้อย่างไร
ยาเลื่อนประจำเดือน คือ ยาสำหรับการชะลอรอบเดือนให้มาช้ากว่าปกติ เนื่องจากมีความจำเป็นในการทำงาน การเรียน นัดหมายสำคัญ หรือต้องเดินทางไปท่องเที่ยวพักผ่อนในช่วงวันหยุด การเลื่อนประจำเดือนออกไปจะอำนวยความสะดวกในการทำกิจกรรมดังกล่าว สามารถทำได้โดยการรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวมตามวิธีเฉพาะสำหรับ...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ประจำเดือน มาปกติหรือมาไม่ปกติเป็นแบบไหน
ประจำเดือนหรือรอบเดือน คือเลือดที่ไหลออกมาจากช่องคลอดผู้หญิงในแต่ละเดือนอันเป็นผลมาจากการตกไข่ที่ไม่ได้รับการผสม ปกติแล้วรอบการมาของประจำเดือนจะเกิดขึ้นในช่วง 21–35 วัน อย่างไรก็ตาม แม้แต่ละเดือนจะมีรอบเดือนตามปกติ แต่อาจมีบางอาการที่เป็นสัญญาณการเจ็บป่วยที่ไม่ปกติซ่อนอยู่ เราจึงควรหมั่นสังเกตเกี่ยวก...(อ่านเพิ่มเติม)