ท่ามกลางความวิตกกังวลต่อการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้ผู้ที่มีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย อย่างมีไข้ ไอหรือจาม เกิดความสับสนไม่น้อย เนื่องจากโรคโควิด-19 เป็นการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจที่คล้ายกับไข้หวัด แต่มักมีความรุนแรงมากกว่า แล้วอะไรคือความแตกต่างระหว่างอาการของสองโรคนี้ การติดเชื้อไข้หวั...(อ่านเพิ่มเติม)
-
โควิด-19 (COVID-19) และไข้หวัด ความแตกต่างที่ควรรู้
-
ELISA วิธีการตรวจหาโรคติดเชื้อ
ELISA (Enzyme-linked Immunosorbent Assay) หรือ อีไลซา เป็นขั้นตอนการตรวจเลือดที่ใช้หาภาวะติดเชื้อต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้ซิก้า เชื้อเอชไอวี ไวรัสโรต้า หรือโรคท็อกโซพลาสโมซิส (Toxoplasmosis) เป็นต้น แพทย์อาจแนะนำให้ผู้ป่วยเข้ารับการตรวจ ELISA เมื่อผู้ป่วยมีสัญญาณของการติดเชื้อ อย่างม...(อ่านเพิ่มเติม)
-
เจ็บหน้าอกข้างขวา กับสาเหตุใกล้ตัวที่ควรใส่ใจ
เจ็บหน้าอกข้างขวาเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ซึ่งหลายคนมักจะตีความว่าเป็นปัญหาสุขภาพหัวใจอย่างภาวะหัวใจขาดเลือดในทันที แต่แท้จริงแล้ว อาการเจ็บหน้าอกข้างขวาอาจเกิดจากปัญหาในระบบทางเดินอาหารหรือปอดได้ แล้วปัญหาสุขภาพดังกล่าวจะประกอบไปด้วยโรคหรือภาวะใดบ้าง บทความนี้มีคำตอบ อาการเจ็บหน้าอกอาจมีได้หลายรูป...(อ่านเพิ่มเติม)
-
อาการไข้หวัดใหญ่ และสัญญาณสำคัญที่ควรไปพบแพทย์
ไข้หวัดใหญ่เป็นโรคที่เกิดได้กับทุกเพศทุกวัย และอาการไข้หวัดใหญ่ก็ปรากฏในหลายลักษณะ ซึ่งโดยปกติแล้วจะเป็นอาการไม่รุนแรง อย่างมีไข้ มีน้ำมูก หรือปวดศีรษะ แต่บางครั้งอาการก็อาจร้ายแรงจนกลายเป็นปอดอักเสบซึ่งอันตรายถึงชีวิตได้ ดังนั้น คนทั่วไปควรทราบข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับอาการต่าง ๆ ของไข้หวัดใหญ่ รวมถึ...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย ต่างกันอย่างไร ?
การติดเชื้อไวรัสและเชื้อแบคทีเรียมีความคล้ายคลึงกันหลายอย่าง ซึ่งการติดเชื้อทั้ง 2 ชนิดเกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ที่แพร่กระจายผ่านการไอ จาม จูบ หรือมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่ติดเชื้อ รวมถึงการสัมผัสวัตถุ รับประทานอาหาร หรือดื่มน้ำที่มีการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ที่สามารถทำให้เกิดการติดเชื้อและโรคต่าง ๆ ได้ แต...(อ่านเพิ่มเติม)
-
วิธีลดไข้ สำหรับทั้งผู้ใหญ่และเด็ก
เมื่อตัวร้อนหรือมีไข้ วิธีลดไข้จะช่วยให้อุณภูมิในร่างกายลดลง บรรเทาอาการไม่สบายตัว และช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น โดยในเบื้องต้นอาจทำได้ด้วยตนเอง เช่น เช็ดตัว หรือพักผ่อนให้เพียงพอ เป็นต้น แต่บางกรณีที่มีไข้ขึ้นสูงอย่างต่อเนื่องจากการเจ็บป่วยหรือภาวะต่าง ๆ ที่รุนแรง อาจต้องไปพบแพทย์เพื่อรับการรักษาอื่น ๆ...(อ่านเพิ่มเติม)
-
การดูแลตัวเองของผู้ป่วยติดเชื้อ HIV ไม่ให้ไปสู่ภาวะเอดส์
เอดส์ เป็นภาวะป่วยขั้นสุดท้ายของการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี (HIV) ที่เม็ดเลือดขาวในร่างกายถูกทำลาย ทำให้ผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันบกพร่องจนไม่สามารถต่อสู้กำจัดเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย ซึ่งนำไปสู่การเจ็บป่วยต่าง ๆ ที่ทำให้เสียชีวิตได้ ดังนั้น ผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวีจึงควรทำความเข้าใจภาวะของตน และศึกษาวิธีการดูแล...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ก้างปลาติดคอ เผลอกลืนวัตถุแปลกปลอม ควรทำอย่างไร ?
ก้างติดคอและปัญหาเผลอกลืนอาหารไม่ทันระวังอาจก่อให้เกิดความระคายเคืองและสร้างความรำคาญใจ และในบางครั้งก็อาจเป็นอันตรายถึงขั้นเกิดแผลบริเวณหลอดอาหาร ทำให้รู้สึกเจ็บทุกครั้งที่กลืน นอกจากนี้ วัตถุแปลกปลอมอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ก้างปลาก็อาจติดคอได้เช่นกัน โดยเฉพาะในเด็ก ซึ่งสร้างความกังวลใจให้พ่อแม่ไม่น้อย มาดู...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ยาปฏิชีวนะ กินอย่างไรให้ได้ผล ปลอดภัย ไม่ดื้อยา
ด้วยสรรพคุณของยาปฏิชีวนะที่ช่วยฆ่าเชื้อโรค หลายคนมักเข้าใจผิดว่ายาชนิดนี้อาจรักษาการติดเชื้อได้หลากหลายและอาจเร่งให้หายจากโรคได้ไวขึ้น แท้จริงแล้วการใช้ยาผิดวัตถุประสงค์อาจเป็นอันตรายร้ายแรงถึงชีวิต จึงควรเลือกใช้ยาแต่ละชนิดให้เหมาะกับเป้าหมายการรักษา โดยเฉพาะการใช้ยาปฏิชีวนะ เพื่อความปลอดภัยและใช้ยา...(อ่านเพิ่มเติม)