เมื่อเราใช้ความคิดหรือต้องตัดสินใจบางอย่างอาจเผลอพูดคนเดียวอยู่บ้าง แต่หลายคนอาจกังวลว่าตนเองผิดปกติหรือมีพฤติกรรมที่แปลกประหลาดในสายตาคนอื่นหรือไม่ บทความนี้จะมาไขข้อสงสัยของการพูดคนเดียว อาการแบบไหนที่ดีต่อสุขภาพ และอาการแบบไหนที่บ่งบอกถึงความผิดปกติทางจิตที่ควรระวัง การพูดคนเดียวจะส่งผลดีต่อสุขภา...(อ่านเพิ่มเติม)
- พูดคนเดียว เรื่องปกติหรือเป็นปัญหาทางจิต
- Digital Empathy ความเห็นอกเห็นใจในโลกออนไลน์ที่สร้างได้
Digital Empathy หรือการเอาใจเขามาใส่ใจเราทางดิจิทัล หมายถึงการใช้สื่อสังคมออนไลน์โดยนึกถึงผู้อื่น ไม่ใช้ถ้อยคำหยาบคายในการว่าร้าย ใส่ความ หรือใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นเครื่องมือในการคุกคามหรือกลั่นแกล้งผู้อื่น การสื่อสารผ่านสื่อออนไลน์ทำให้คนจำนวนมากได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความรู้สึกกันอย่างสะดวกสบา...(อ่านเพิ่มเติม)
- เสพข่าวมากไป อาจเสี่ยงภาวะ Headline Stress Disorder ไม่รู้ตัว
Headline Stress Disorder หรือภาวะเครียดจากการเสพข่าวมากเกินไป เป็นความรู้สึกวิตกกังวลและเครียดจากการรับข้อมูลข่าวสารจำนวนมากผ่านสื่อต่าง ๆ แม้ Headline Stress Disorder จะไม่ได้จัดเป็นโรคตามคู่มือวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (DSM-5) แต่มีส่วนทำให้เกิดความเครียดสะสม ซึ่งอาจส่งผลต่อสุขภาพกายแ...(อ่านเพิ่มเติม)
- 5 วิธีรับมือกับความเครียดในช่วงวันหยุดยาว (Holiday Stress)
เชื่อว่าหลายคนคงไม่เคยสังเกตถึงความเครียดในช่วงวันหยุดยาว (Holiday Stress) เพราะเมื่อพูดถึงวันหยุดนักขัตฤกษ์หรือเทศกาลต่าง ๆ เราก็มักจะนึกถึงความผ่อนคลายและความรื่นเริงในการเฉลิมฉลอง แต่กลับมีผลการศึกษาที่พบว่าความเครียด ความเศร้า หรือความรู้สึกโดดเดี่ยวนั้นมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในช่วงเทศกาลหรือวันหยุ...(อ่านเพิ่มเติม)
- รับมืออย่างไรเมื่อรู้ตัวว่าเป็นมะเร็ง
การได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งอาจก่อให้เกิดหลายความรู้สึก ทั้งความเครียด ความทุกข์ใจ ความหวาดกลัวและวิตกกังวลถึงการรักษาและการดูแลตนเองในอนาคต รวมทั้งอาจเกิดการตอบสนองทางกายต่อข่าวร้าย เช่น ไม่ได้ยินสิ่งที่แพทย์อธิบายหลังแจ้งผลวินิจฉัย รู้สึกหัวหมุนหรือหายใจลำบากได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยมะเร็งจำนวน...(อ่านเพิ่มเติม)
- ประโยชน์ของการเขียนไดอารี่ และคำแนะนำสำหรับนักจดมือใหม่
การเขียนไดอารี่เป็นการจดบันทึกความคิด ความรู้สึก และเรื่องราวที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน โดยอาจเขียนลงในสมุดจดหรือบันทึกลงในคอมพิวเตอร์และแท็บเลตก็ได้ ถือว่ากิจกรรมที่ทำให้เราได้ตกตะกอนความคิด และย้อนกลับมาดูได้ในภายหลัง ซึ่งอาจช่วยให้เราได้สำรวจตัวเองและพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้น การเขียนไดอารี่ไม่มีรูปแบบที่ตา...(อ่านเพิ่มเติม)
- เกลียดตัวเองเกิดจากอะไร และวิธีรับมือเมื่อรู้สึกแย่กับตัวเอง
เกลียดตัวเอง (Self-Hatred) เป็นความรู้สึกของการโทษตัวเองอย่างรุนแรง ซึ่งทำให้รู้สึกว่าตัวเองไม่มีคุณค่าหรือไม่ดีพอที่จะได้รับสิ่งดี ๆ ในชีวิต ผู้ที่เกลียดตัวเองมักเปรียบเทียบตัวเองกับคนอื่น มองเห็นแต่จุดด้อยของตัวเอง และคิดว่าคนอื่นคอยจับจ้องและตำหนิการกระทำตลอดเวลา ความคิดนี้จึงส่งผลกระทบต่อการใช้ชี...(อ่านเพิ่มเติม)
- ดูแลตัวเองทั้งกายใจ เคล็ดลับสุขภาพดีที่ทำได้ทุกวัน
การดูแลตัวเอง (Self-Care) อาจเป็นเรื่องธรรมดาสำหรับใครหลายคนที่ปฏิบัติอยู่เป็นประจำ แต่ก็มีคนจำนวนไม่น้อยที่เข้าใจว่า การดูแลตัวเองจะต้องทำเมื่อเกิดความเจ็บป่วยขึ้นเท่านั้น ซึ่งความจริงแล้ว การดูแลตัวเองคือการใช้เวลาทำสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพทั้งทางกายและจิตใจ ซึ่งควรทำอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องทุ...(อ่านเพิ่มเติม)
- รู้จักกับ DSM-5 หรือคู่มือวินิจฉัยอาการผิดปกติทางจิตฉบับที่ 5
DSM-5 เป็นคำย่อของคู่มือวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders: DSM) ฉบับที่ 5 ซึ่งเป็นคู่มือจิตแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ใช้ในอ้างอิงและวินิจฉัยภาวะความผิดปกติทางจิตของผู้ป่วย โดยคู่มือนี้รวบรวมและเผยแพร่โดยสมาคมจิตเวชศาสตร์สหรัฐอเมริกา (Americ...(อ่านเพิ่มเติม)
- Self Compassion เทคนิคที่ช่วยให้คุณใจดีกับตัวเองมากขึ้น
Self Compassion หรือความเมตตาต่อตัวเอง หมายถึงการยอมรับความไม่สมบูรณ์แบบของตัวเอง โดยไม่คิดโทษตัวเองและเข้าใจว่าการทำผิดพลาดเป็นเรื่องปกติที่สามารถแก้ไขได้ เมื่อมี Self Compassion จะทำให้เรามีมุมมองที่ดีต่อตัวเองและคนรอบข้าง ช่วยลดความเครียด และทำให้ชีวิตมีความสุข หลายคนอาจมีนิสัยโทษตัวเองโดยไม่รู้ต...(อ่านเพิ่มเติม)