โรคหัวใจขาดเลือด (Heart Attack) เกิดขึ้นเมื่อเลือดสูบฉีดภายในหัวใจลดลงหรือเลือดขาดการไหลเวียนจนกล้ามเนื้อหัวใจได้รับเลือดไม่เพียงพอ โรคนี้ถือเป็นโรคอันตรายเนื่องจากผู้ป่วยอาจไม่ทันระวังหรือไม่รู้ตัวว่าตนเองกำลังมีอาการของโรคนี้อยู่ และอาจทำให้เสี่ยงต่อการชีวิตได้ แม้ว่าอาการเจ็บหน้าอกที่ลุกลามไปยังก...(อ่านเพิ่มเติม)
- สัญญาณของโรคหัวใจขาดเลือดที่ไม่ควรมองข้าม
- เป็นโรคหัวใจควรออกกำลังกายแบบไหน มีข้อควรระวังอะไรบ้าง
โรคหัวใจอาจเป็นอุปสรรคต่อการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน และอาจสร้างความกังวลใจเมื่อต้องออกกำลังกายหรือทำกิจกรรมที่ต้องใช้แรงได้ แต่รู้หรือไม่ว่าการออกกำลังกายเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยให้ผู้ป่วยมีสุขภาพที่แข็งแรงมากขึ้น โดยผู้ป่วยโรคหัวใจเองก็สามารถออกกำลังกายได้อย่างปลอดภัยหากออกกำลังกายด้วยวิธีที่เ...(อ่านเพิ่มเติม)
- วิธีใช้เครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้ว และเคล็ดลับในการวัดให้แม่นยำ
วิธีใช้เครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้วที่ถูกต้องจะช่วยให้การวัดระดับออกซิเจนปลายนิ้วแม่นยำมากขึ้น ซึ่งผลลัพธ์ที่แม่นยำอาจช่วยให้เห็นว่าปอดและหัวใจทำงานเป็นปกติหรือไม่ แม้ว่าเครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้วอาจดูใช้งานไม่ยาก แต่ก็มีข้อควรระวังที่หลายคนไม่รู้ว่าส่งผลต่อการวัดได้ เครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้วเป็นอุปกร...(อ่านเพิ่มเติม)
- PM 2.5 กับผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ
PM 2.5 หรือที่เรียกกันว่าฝุ่น PM 2.5 เป็นปัญหาด้านมลภาวะที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและสุขภาพร่างกายมากกว่าที่คิด โดยเฉพาะระบบทางเดินหายใจ โดยในระยะสั้น ๆ อาจทำให้เกิดอาการระคายเคืองตา จมูก คอหรือปอด ไอ จาม น้ำมูกไหล หายใจไม่อิ่ม แต่หากได้รับปริมาณมากอาจกระทบต่อสุขภาพในระยะยาวได้ โดยมีการศึกษาระบุ...(อ่านเพิ่มเติม)
- เครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้วจำเป็นหรือไม่ แม่นยำแค่ไหน?
เครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้ว (Finger Pulse Oximeter) เป็นอุปกรณ์ที่หลายคนให้ความสนใจกันอย่างมากในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 โดยนำมาใช้ตรวจวัดระดับออกซิเจนในร่างกาย เพราะหากร่างกายมีระดับออกซิเจนต่ำผิดปกติก็อาจเป็นสัญญาณเตือนของภาวะออกซิเจนต่ำในโรคโควิด-19 ได้ แต่อุปกรณ์ชนิดนี้จำเป็นจริงหรือ เครื่องว...(อ่านเพิ่มเติม)
- วิธีป้องกันฝุ่น PM 2.5 ที่ถูกต้องและปลอดภัย
เนื่องจากฝุ่น PM 2.5 ยังคงวนเวียนอยู่อากาศที่เราหายใจในทุก ๆ วัน การป้องกันฝุ่น PM 2.5 ที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทุกคนอย่างมาก เพราะหากเราละเลยและขาดความระมัดระวังก็อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาวได้ โดยเฉพาะผู้มีปัญหาในระบบทางเดินหายใจ ผู้สูงอายุ และเด็ก ฝุ่น PM 2.5 (Particul...(อ่านเพิ่มเติม)
- ผู้ป่วยโรคหัวใจ ออกกำลังกายอย่างไรให้ปลอดภัย
หลายคนคงทราบกันดีว่า การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะช่วยให้ร่างกายมีสุขภาพที่แข็งแรง แต่สำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจ การออกกำลังกายอาจทำให้ทั้งผู้ป่วยและคนใกล้ชิดรู้สึกเป็นกังวลถึงความปลอดภัยของสุขภาพหัวใจ ในความเป็นจริงแล้ว มีงานศึกษาหลายชิ้นแสดงให้เห็นว่าการออกกำลังกายเป็นสิ่งสำคัญต่อผู้ป่วยโรคหัวใจเช่นกัน ...(อ่านเพิ่มเติม)
- พฤติกรรมเนือยนิ่ง (Sedentary Lifestyle) ผลกระทบต่อสุขภาพที่ควรระวัง
เรามักใช้เวลาส่วนใหญ่ในแต่ละวันจดจ่ออยู่กับการทำงานหน้าคอมพิวเตอร์เป็นเวลา 8 ชั่วโมงต่อวัน ต่อด้วยการกลับมานั่งดูโทรทัศน์ที่บ้านโดยแทบไม่ได้เคลื่อนไหวหรือออกกำลังกาย พฤติกรรมเหล่านี้เรียกว่า พฤติกรรมเนือยนิ่งหรือ Sedentary Lifestyle ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพในระยะยาวได้โดยที่คุณไม่รู้ตัว พฤติกรรมเนือ...(อ่านเพิ่มเติม)
- สาเหตุของอาการคันจมูกและวิธีดูแลตัวเอง
อาการคันจมูกเป็นอาการกวนใจที่มักตามมาด้วยอาการจาม น้ำมูกไหล และคัดจมูก บางครั้งอาจหายได้เองโดยใช้เวลาไม่นาน แต่บางครั้งอาจเป็นติดต่อกันจนทำให้รู้สึกหงุดหงิด แต่อาการคันจมูกสามารถบรรเทาได้หลายวิธีตามสาเหตุที่พบ สาเหตุของอาการคันจมูกอาจเกิดได้จากการระคายเคือง สภาพอากาศ สภาพแวดล้อม และปัญหาสุขภาพ อย่างโ...(อ่านเพิ่มเติม)
- น้ำมันพืช วัตถุดิบคู่ครัว เลือกให้ดีมีประโยชน์
น้ำมันพืชเป็นส่วนประกอบพื้นฐานในการปรุงอาหาร โดยเฉพาะเมนูผัดและทอด จึงอาจเรียกได้ว่าเป็นของคู่ครัวสำหรับทุกบ้าน แต่ยังมีการถกเถียงถึงประโยชน์และโทษของน้ำมันชนิดนี้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งประโยชน์และโทษอาจขึ้นอยู่กับชนิดของน้ำมันและไขมันที่ร่างกายได้รับ ไขมันและน้ำมันเป็นสิ่งมาคู่กัน หลายคนอาจคิดว่าไขมันเ...(อ่านเพิ่มเติม)