แม้หลายคนจะเคยใช้ชุดตรวจโควิดมาแล้วบ่อยครั้ง แต่บางคนยังสับสนและสงสัยว่าผลตรวจ ATK ขึ้น 2 ขีดนั้นหมายถึงอะไร สรุปแล้วร่างกายของเราติดเชื้อหรือไม่ติดเชื้อกันแน่ แล้วถ้าผลออกมาว่าติดเชื้อควรทำอย่างไรต่อ บทความนี้มีคำตอบมาฝากทุกคนแล้ว เราต้องทราบก่อนว่าชุดตรวจ ATK (Antigen Test Kit) เป็นการตรวจคัดกรองโ...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ตรวจ ATK ขึ้น 2 ขีด หมายถึงอะไร แล้วควรทำอย่างไรต่อ
-
โครงสร้างหูและปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการได้ยิน
หูเป็นอวัยวะสำคัญที่ทำหน้าที่รับเสียง โดยโครงสร้างหูแบ่งเป็น 3 ชั้น ได้แก่ หูชั้นนอก หูชั้นกลาง และหูชั้นใน นับตั้งแต่ใบหูที่อยู่ด้านนอกไปจนถึงกล้ามเนื้อ กระดูก และเส้นประสาทที่ละเอียดอ่อนและซับซ้อนภายในหู หูแต่ละชั้นจะมีส่วนประกอบและหน้าที่ที่แตกต่างกัน นอกจากทำหน้าที่รับเสียงแล้ว หูยังมีหน้าที่สำคั...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ปัญหาลูกนอนยาก แก้ไขให้ตรงจุด
ลูกนอนยากเป็นปัญหาที่พบบ่อย โดยเด็กบางคนอาจไม่ยอมนอนหรือบางคนตื่นกลางดึกบ่อย พ่อแม่จึงอาจรู้สึกเหนื่อยและหนักใจในการกล่อมให้ลูกนอนหลับสนิทตลอดทั้งคืน ปัญหาลูกนอนยากเกิดได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการเข้านอน กลัวการถูกทอดทิ้ง และปัญหาเกี่ยวกับการนอนหลับที่ควรได้รับการรักษา กา...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ทำความรู้จักกับ Brachytherapy วิธีรักษามะเร็งด้วยรังสีระยะใกล้
Brachytherapy หรือ Internal Radiation (การรักษาด้วยรังสีระยะใกล้) เป็นการรักษาด้วยรังสี (Radiation Therapy) ชนิดหนึ่งที่แพทย์ใช้สำหรับรักษาผู้ป่วยมะเร็งบางชนิด โดยการนำแร่ที่ให้สารกัมมันตรังสีเข้าไปในร่างกายของผู้ป่วยบริเวณที่มีก้อนเนื้อมะเร็งอยู่เพื่อปล่อยรังสีกำจัดเซลล์มะเร็ง Brachytherapy เป็นวิธี...(อ่านเพิ่มเติม)
-
อาการปวดจากมะเร็งกับการใช้ยาบรรเทาอาการปวด
อาการปวดจากมะเร็งพบได้ในผู้ป่วยโรคมะเร็งชนิดต่าง ๆ ซึ่งเป็นผลจากโรคมะเร็งโดยตรง วิธีการรักษา หรือทั้ง 2 ปัจจัยรวมกัน โดยอาการปวดที่เกิดขึ้นอาจเป็นอุปสรรคต่อการใช้ชีวิตประจำวัน การทำงาน หรือแม้แต่การนอนหลับ ทำให้ผู้ป่วยอาจต้องใช้ยาช่วยในการบรรเทาอาการปวด แม้อาการปวดจากมะเร็งไม่ได้เกิดขึ้นกับผู้ป่วยมะเ...(อ่านเพิ่มเติม)
-
รู้ได้อย่างไรว่าติดเชื้อเอชไอวี อาการไหนที่ควรให้ความสนใจ
เอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus: HIV) เป็นเชื้อไวรัสอันตรายที่ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายอ่อนแอลง โดยผู้ป่วยอาจได้รับเชื้อเอชไอวีจากสารคัดหลั่งผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์ ทั้งทางช่องปาก (Oral Sex) อวัยวะเพศหรือทวารหนัก รวมทั้งอาจได้รับเชื้อผ่านทางบาดแผลเปิดหรือการใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้ป่วยเอชไอว...(อ่านเพิ่มเติม)
-
ถ่ายไม่สุด อาการบ่งบอกโรคที่ไม่ควรละเลย
ถ่ายไม่สุด (Tenesmus) เป็นอาการที่เรารู้สึกอยากถ่ายอุจจาระแม้จะไม่มีอุจจาระค้างในลำไส้แล้วก็ตาม ทำให้หลายคนพยายามเบ่งเพื่อถ่ายอุจจาระและอาจถ่ายออกมาเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีอุจจาระออกมาเลย อาการถ่ายไม่สุดอาจเรียกว่าอาการปวดเบ่ง ซึ่งทำให้รู้สึกปวดและไม่สบายท้องท้อง การถ่ายไม่สุดไม่ได้จัดเป็นโรคโดยตรง แต่...(อ่านเพิ่มเติม)
-
เครียดเรื่องงาน รับมืออย่างไรไม่ให้เสียสุขภาพ
เครียดเรื่องงานเป็นเรื่องที่คนทำงานเกือบทุกคนต้องเคยเจอ ไม่ว่าจะเป็นความเครียดจากปริมาณงานที่ล้นมือ ความเครียดจากการเร่งทำงานเพื่อให้ทันกำหนดส่ง หรือความเครียดที่เกิดจากหัวหน้าและเพื่อนร่วมงาน หากความเครียดเหล่านี้เกิดขึ้นในช่วงสั้น ๆ ถือเป็นเรื่องปกติ แต่หากความเครียดสะสมเป็นเวลานานอาจส่งผลเสียต่อสุ...(อ่านเพิ่มเติม)
-
สังเกตอาการวุ้นในตาเสื่อม ปล่อยไว้อาจเป็นอันตรายต่อดวงตา
อาการวุ้นในตาเสื่อม (Eye Floaters) คือการมองเห็นจุดหรือเงาดำคล้ายหยากไย่ลอยไปมา โดยมักเห็นชัดขึ้นเมื่อมองไปบนท้องฟ้าหรือมองผนังสีขาว แต่จะหายไปเมื่อพยายามเพ่งมอง ภาวะวุ้นในตาเสื่อมอาจเกิดขึ้นที่ดวงตาข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้างก็ได้ โดยปกติแล้วภาวะนี้จะพบบ่อยในผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป แต่ปัจจุบันอา...(อ่านเพิ่มเติม)
-
อาการโอมิครอน (Omicron) กับการป้องกันตัวเองอย่างถูกวิธี
โอมิครอน (Omicron) หรือเชื้อไวรัสก่อโรคโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอนนั้นกระตุ้นให้การแพร่ระบาดและการติดเชื้อกลับมาเพิ่มจำนวนสูงมากอีกครั้ง ซึ่งสายพันธุ์นี้ก็มีความแตกต่างจากสายพันธุ์อื่นอยู่บ้าง ทั้งการแพร่กระจาย อาการที่เกิดขึ้น หรือความรุนแรงของอาการ ข้อมูลเบื้องต้นพบว่า โอมิครอน (B.1.1.529) นั้นแพร่...(อ่านเพิ่มเติม)